นางสาว นูรุลฮูดา กาซอ
nurinda886@gmail.com
วันพฤหัสบดีที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
อาหารประจำภาคใต้
แกงไตปลา
แกงไตปลา เป็นอาหารยอดนิยม มีรสจัดจ้านรับประทานกับข้าวสวยร้อนๆข้าวยำ
พร้อมผักเครื่องเคียง แกงไตปลา 1 ถ้วยจะมีวิตมิน โปรตีน แคลเซียมและฟอสฟอรัส
ข้าวยำ คืการนำผ้ลักสดสมุนไพรไทย เช่น ตะไคร้ใบมะกรูด
ถั่วฝ้ฃักยาวมาหั่นให้ละเอียด รวมทั้งเนื่อส้มโอ มะพร้าวคั่วและกุ้งแห้งป่นมาคลุเค้า
กับข้สวสวย ราดด้วยน้ำบูดูซึ่งได้ได้ปรุงแต่งรสชาติแล้ว
ถั่วฝ้ฃักยาวมาหั่นให้ละเอียด รวมทั้งเนื่อส้มโอ มะพร้าวคั่วและกุ้งแห้งป่นมาคลุเค้า
กับข้สวสวย ราดด้วยน้ำบูดูซึ่งได้ได้ปรุงแต่งรสชาติแล้ว
ข้าวยำคลุก
ไก่กอแหละ
ปลากระบอกต้มส้ม
แกงส้ม
วัฒนธรรมการแต่งกายของคนภาคใต้
วัฒนธรรมการแต่งกายของคนภาคใต้
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่คนไทยสืบทอดกันมาตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตาทวดที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงรุ่นปัจจุบันก็ได้มีการสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น วัฒนธรรมก็มีหลากหลายประเภทแต่ละท้องที่ก็จะมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไปแต่ก็มีบางวัฒนธรรมที่เหมือนกัน เช่น วัฒนธรรมการไหว้ที่คนไทยทุกภาคทุกคนต้องมีการไหว้เหมือนกัน เพราะเป็นเอกลักษณ์ของคนไทยไปแล้ว วัฒนธรรม วันนี้จะมาพูดถึงวัฒนธรรมการแต่งกายของคนภาคใต้ ว่ามีการแต่งกายเป็นแบบใดมีลักษณะที่แตกต่างกับภาคอื่นอย่างไรบ้าง
การแต่งกายของคนภาคใต้นั้นเป็นการแต่งกายที่ไม่เหมือนกับภาคอื่น ในด้านการแต่งกายชาวภาคใต้ใช้ผ้าหลายรูปแบบ ทั้งผ้าฝ้าย ผ้าแพร ผ้าเขียนลายเทียน ผ้ามัด-ย้อม แต่ผ้าที่มีชื่อที่สุดของภาคใต้กลับเป็นผ้ายกที่มีชื่อเสียงเป็นอย่างมากแต่ชาวบ้านปักษ์ใต้ทั่วไปแบบเดิมนิยมนุ่งผ้าคล้ายผ้าขาวม้ามีสีแดง การนุ่งผ้าปาเต๊ะหรือบาติกที่มีลวดลายสีสันหลากหลายเป็นความนิยมในช่วงหลัง จากการรับอิทธิพลของผ้ามาเลเซีย อินโดนีเซีย ชาวไทยมุสลิมภาคใต้นิยมนุ่งโสร่งที่มีความคล้ายกับกับผ้าข้าวม้าของทางภาคอีสาน ผู้ชายส่วนใหญ่จะนิยมนุ่งผ้าโสร่งแต่ผู้หญิงจะนุ่งผ้าปาเต๊ะหรือผ้าบาติก แต่ในปัจจุบันคนใต้ส่วนใหญ่ก็จะนุ่งเสื้อผ้าตามแฟชั่นที่มีขายอยู่ตามท้องตลาดทั่วไป แต่ผ้าที่มีชื่อเสียงของทางภาคใต้ก็จะมีด้วยกัน คือ ผ้ายกเมืองนครศรีธรรมราช ผ้าทอเกาะยอ ผ้าทอนาหมื่นสี ผ้าทอพุมเรียง ผ้าหางกระรอก ผ้าปาเต๊ะผ้าทอปัตตานี เป็นต้น
สถาณที่ท่องเที่ยวต่างๆของภาคใต้
สถาณที่ท่องเที่ยวต่างๆของภาคใต้
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา เป็นพื้นที่อนุรักษ์แห่งใหม่ของประเทศไทย ได้รับการประกาศจัดตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2539 อันเป็นแนวชายแดนไทย-มา...
|
อุทยานแห่งชาติเทือกเขาบูโดสุไหงปาดีอุทยานแห่งชาติเทือกเขาบูโด – สุไหงปาดี สมัยก่อนเทือกเขาบูโด-สุไหงปาดี เป็นส่วนหนึ่งของทิวเขาสันกาลาคีรีที่แบ่งเขตแดนไทย-มาเลเซีย เคยเป็นที่ซ่องส...
|
สวนรวมพรรณไม้ป่า 60 พรรษาสวนรวมพรรณไม้ป่า 60 พรรษา ตั้งอยู่บริเวณที่ดินสาธารณประโยชน์ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ หมู่ที่ 3 ต.สุไหงปาดี อ.สุไหงปาดี มีพื้นที่ทั้งหมด 100 ไร่เป็นสวนที่ท...
|
มัสยิดกลาง (ใหม่)มัสยิดกลาง ตั้งอยู่ที่บ้านบางนรา ก่อนถึงหาดนราทัศน์ เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจของชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลาม มัสยิดกลางนราธิวาสนี้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2...
|
มัสยิดวาดีอัลฮูเซ็นมัสยิดวาดีอัลฮูเซ็น บ้านตะโละมาเนาะ ตำบลลุโบะสาวอ ห่างจากจังหวัดนราธิวาส เป็นระยะทาง 25 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 42 แล้วแยกที่บ้านบือราแง นา...
|
น้ำตกสิรินธรน้ำตกสิรินธร ลักษณะโดยทั่วไปไม่ใช่น้ำที่ตกมาจากผาสูง หากแต่เป็นลักษณะธารที่ค่อยๆลาดไหลมาจากแนวป่าสูง มีแอ่งน้ำลานหิน นั่งพักผ่อนได้ ธารน้ำตกจะไหลไปรวม...
|
น้ำตกฉัตรวารินน้ำตกฉัตรวาริน อยู่ที่ตำบลโต๊ะเด็ง ไม่ไกลจากตัวเมือง ไปตามทางหลวงหมายเลข 4056 ถึงโรงพยาบาลสุไหงปาดีแล้วเลี้ยวซ้ายไปตามถนนอีก 6 กิโลเมตร ทางเข้าลา...
|
ชายหาดนราทัศน์ ชายหาดนราทัศน์ เป็นหาดทรายขาวสะอาดยาวประมาณ 5 กิโลเมตร ไปสิ้นสุดที่ปลายแหลมด้านปากแม่น้ำบางนราซึ่งใช้เป็นสถานที่จัดการแข่งขันเรือกอและที่จัดขึ้น...
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)